วันศุกร์ที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2554
การออกแบบและนำเสนอผ่านสื่อโปสเตอร์
การออกแบบโปสเตอร์

โปสเตอร์ (Poster)
โปสเตอร์ (Poster)หมายถึง สิ่งพิมพ์ที่ที่เป็นแผ่นเดียวมีขนาดใหญ่หรือเล็กแล้วแต่ผู้จัดทำ ใช้ติดตามสถานที่ต่าง ๆ ในแนวตั้ง เช่น ผนัง ตู้กระจก เสาไฟฟ้า ฯลฯ มีเนื้อหาสาระเพื่อการโฆษณาประชาสัมพันธ์สินค้าหรือบริการหรืองานอื่นๆที่ต้องการเรียกร้องความสนใจ ส่วนใหญ่แล้วมักน าเสนอเพียงแนวความคิดเดียวเป็นหลักใหญ่
ประโยชน์ของโปสเตอร์
ประโยชน์ของโปสเตอร์อาจมีหลายจุดประสงค์ เช่น1.โดยส่วนมากจะเป็นเครื่องมือในการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ ไม่ว่าจะเป็นโฆษณาสินค้า/บริการ งานต่างๆ งานดนตรี ภาพยนตร์
2. เพื่อใช้ในการศึกษาน าเสนอสาระใดสารหนึ่ง
3. เพื่อเป็นสื่อการสอนอธิบายเรื่องราวต่าง ๆ
4. นำเสนอผลงานทางวิชาการ
ลักษณะของภาพโปสเตอร์ที่ดี
1. รูปแบบต้องสอดคล้องกับเนื้อหาและกลุ่มเป้าหมายที่วางไว้
2. มีลักษณะ เด่นชัด มองเห็นสะดุดตา
3. ข้อความนั้นต้องสั้น กระชับได้ใจความ
4. รูปภาพเร้าความสนใจ ชวนติดตาม
5. มีการสื่อความหมายได้ตามวัตถุประสงค์
6. แสดงออกถึงความคิดสร้างสรรค์
7. มีขนาดใหญ่พอที่จะมองเห็นได้ในระยะไกล
8. ในเรื่องการนำเสนอต้องมีข้อมูลเพียงเรื่องเดียวและที่สำคัญตรงประเด็น
ส่วนประกอบของโปสเตอร์
1. ข้อความพาดหัว
2. รายละเอียด
3. รูปภาพประกอบ
4. คำขวัญ/สโลแกนเพื่อจูงใจ/ข้อความลงท้าย
5. โลโก้ของหน่วยงานเจ้าของโปสเตอร์
6. อื่น ๆ
หลักการออกแบบโปสเตอร์
1. ตัวอักษรต้องตัดกับพื้นหลัง
2. ไม่ควรใส่ข้อความแน่นหรือมีจำนวนมากเกินไป
3. ควรคำนึงถึงหลักทฤษฎีสีและศิลปะในการออกแบบ
4. ควรเว้นระยะขอบประมาณ 0.5 ซ.ม.
5. เลือกภาพให้เหมาะสมกับเนื้อหา
ข้อควรคำนึงในการเลือกกระดาษพิมพ์
1. งบประมาณ
2. จำนวนพิมพ์
3. ระบบของเครื่องพิมพ์
4. วัตถุประสงค์ในการนำไปใช้
การออกแบบและนำเสนอด้วยสื่อดิจิทัลและสื่อประสม
พื้นฐานการผลิตวีดิทัศน์หนังสั้น
หนังสั้น หมายถึง เรื่องที่นำเสนอทั้งภาพและเสียงและในระยะเวลาอันจำกัดประมาณ 5-10 นาที โดยสะท้อนเรื่องราว สาระที่เกิดขึ้นและจบลงอย่างรวดเร็ว
ขั้นตอนการผลิตหนังสั้น
1. ขั้นเตรียมการผลิต (Pre-Production)
• 1.1 สำรวจความต้องการและวิเคราะห์ปัญหา• 1.2 วิเคราะห์เนื้อหาและกำหนดเรื่อง
• 1.3 เขียนบทวีดิทัศน์
• 1.4 วางแผนการถ่ายทำ
2. ขั้นการผลิต (Production)
คือ การถ่ายทำวีดิทัศน์เป็นการบันทึกภาพวีดิทัศน์ ตามบทวีดิทัศน์ที่ได้เขียนไว้ ในการถ่ายทำควรจะต้องศึกษาบทวีดิทัศน์อย่างละเอียด ถ่ายทำให้ได้ภาพครบตามที่ต้องการ
3. ขั้นหลังการผลิต (Post-Production)
คือ การตัดต่อลำดับภาพ ในขั้นนี้ถือว่าเป็นสุดท้ายของการผลิต เป็นขั้นสำคัญอีกขั้นหนึ่งที่ต้องมีความละเอียดรอบคอบทั้งทางด้านภาพและเสียง โดยการนำภาพต่างๆ เสียง กราฟิก มาเรียบเรียงลำดับให้เป็นเรื่องราวตามบทวีดิทัศน์ที่กำหนดไว้ พร้อมทั้งการแก้ไข ปรับแต่งให้มีความเหมาะสม สวยงาม น่าสนใจติดตาม และจะต้องคำนึงถึงรูปแบบของสื่อที่จะเผยแพร่อีกด้วย
4. ขั้นการประเมินผล (Evaluation)
การประเมินผล เป็นการประเมินผลสื่อ เมื่อได้ผลิตรายการวีดิทัศน์มาแล้วต้องนำไปใช้กับกลุ่มเป้าหมายจริงจำนวนหนึ่ง เพื่อนำข้อมูลต่างๆ มาปรับปรุงแก้ไขตามที่เห็นสมควร เพื่อให้วีดิทัศน์มีคุณภาพก่อนจะนำไปเผยแพร่ต่อไป5. ขั้นเผยแพร่
การเผยแพร่ ในการเผยแพร่วีดิทัศน์ ควรมีรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อให้เข้าถึงเป้าหมายให้ได้มากที่สุด เท่าที่จะทำได้ และควรเก็บข้อมูล ข้อแนะนำต่างๆ จากผู้ใช้ เพื่อนำมาแก้ไขในเรื่องอื่นต่อไปการเขียนบทวีดิทัศน์
บทวีดิทัศน์ คือ เป็นข้อเขียนหรือรายละเอียดที่เขียนขึ้นเพื่อใช้เป็นตัวกำหนดแนวทาง ในการดำเนินการผลิตรายการวีดิทัศน์ และสื่อความหมายให้ทุกฝ่ายเข้าใจได้ตรงกันและสื่อความหมายได้ตรงตามวัตถุประสงค์หลักในการเขียนบทที่ดี
1. บทวีดิทัศน์ควรมีแก่นเรื่อง (Theme) เพื่อให้เรื่องมีเอกภาพ (Unity)
2. มีการวางโครงเรื่องที่ดี (Out line) น่าสนใจให้ติดตาม
3. ควรเลือกรูปแบบของบทให้เหมาะสมกับเนื้อหาของเรื่อง
4. ภาษาที่ใช้ควรมีความสละสลวยเข้าใจง่ายใช้ภาษาเพื่อการฟังมิใช่ภาษาเพื่อการอ่าน
5. ภาพและเสียงควรมีความสัมพันธ์กัน (relation of sound and picture)
6. ภาพและเสียงของแต่ละช่วงตอนต้องมีความต่อเนื่องกัน
7. คำนึงถึงจำนวนเวลาของรายการ ความยาวของบทต้องสอดคล้องกับเวลาที่มี
8. ผู้เขียนบทควรประสานแนวคิดกับเจ้าของเรื่อง เพื่อให้ได้เนื้อเรื่องที่ถูกต้องสมบูรณ์
9. ขณะที่มีการผลิตรายการผู้เขียนบทควรสังเกตการณ์จากจอมอนิเตอร์ว่าภาพและเสียงที่ปรากฏนั้นเป็นไปตามจินตนาการที่คิดไว้หรือไม่ ถ้าไม่ดีอย่างที่คิด อาจจะให้ข้อคิดเห็นแก่ผู้กำกับเพื่อช่วยกันปรับปรุงแก้ไข
10. เมื่อขั้นตอนการผลิตเสร็จสิ้นลง ตามปกติจะมีการประชุมดูผลงาน เพื่อประเมินผู้เขียนบทต้องเข้าร่วมประเมินคุณภาพของรายการด้วย
- มุมกล้องและลักษณะภาพในการออกแบบและนำเสนอวีดิทัศน์
Camera angle shots มุมกล้อง
มุมกล้อง (Camera angle)
มุมกล้องก็เป็นเช่นเดียวกับระยะภาพที่ช่วยให้ผู้ดูสามารถมองเห็นวัตถุได้หลายแง่ หลายมุม มีอิทธิพลต่อทัศนคติของผู้ดูต่อสิ่งนั้นและยังช่วยสร้างบรรยากาศที่แตกต่างกันออกไปด้วย
1. ภาพระดับสายตา (Eye level shot)
เป็นมุมกล้องปกติที่ใช้มากที่สุด ภาพอยู่ใน ระดับสายตาโดยยึดเอาสิ่งที่ถ่ายเป็นหลัก ไม่ใช่สายตาของผู้ถ่าย เป็นการตั้งกล้องในระดับเดียวกันกับสายตาของผู้ชม การเสนอมุมแบบนี้ทำให้ผู้ชมรู้สึกเหมือนอยู่ในเหตุการณ์ต่าง ๆ ด้วยตนเอง
2. มุมกล้องระดับสูง (High Angle)
ตำแหน่งของกล้องจะอยู่ในระดับที่สูงกว่าสิ่งที่ถ่ายเวลาบันทึกภาพจึงต้องกดลงมา มุมนี้จะท าให้มองเห็นเหตุการณ์ทั่วถึง เหมาะที่จะใช้กับฉากที่ต้องการ แสดงความงามของทัศนียภาพ อีกทั้งมุมนี้ยังทำให้สิ่งที่ถ่ายมองดูเล็กลง ทำให้รู้สึกต่ำต้อย
3. มุมกล้องในระดับสายตานก (Bird's eye view) เป็นการตั้งกล้องในตำแหน่งเหนือศีรษะโดยตรงของสิ่งที่ถ่ายภาพที่ถูกบันทึกจะมีมุมมองเช่นเดียวกับสายตานกที่มองดิ่งลงมายังพื้นดิน มุมกล้องนี้ให้ความรู้สึกสิ้นหวัง หรือช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ รวมทั้งตกอยู่ภายใต้อำนาจการควบคุมของผู้ที่อยู่เหนือกว่า
4. มุมกล้องระดับต่ า (Low Angle)
กล้องจะตั้งในระดับต่่ำกว่าสิ่งที่ถ่าย เวลาบันทึกภาพต้องเงยกล้องขึ้น ภาพมุมต่่ำจะมีลักษณะตรงข้ามกับมุมสูง คือ จะให้ความรู้สึกว่าสิ่งที่ถ่ายนั้นมีอำนาจ มีค่า ยิ่งใหญ่น่าเกรงขาม แสดงถึงความสง่างามและชัยชนะ มีพลังลักษณะของภาพที่ถ่ายเพื่อบอกเนื้อหา หรือเรื่องราวของภาพและลักษณะภาพหรือธรรมชาติของภาพที่ถ่าย
1. ภาพที่ถ่ายจากมุมสูง (aerial shot / bird’s eyes view)
2. ภาพที่ถ่ายในระยะใกล้มาก (Big Close Up Shot)
3. ภาพครึ่งอก (Bust Shot)
4. ภาพเอียง (Canted Shot)
5. ภาพถ่ายข้ามไหล่ (Cross Shot)
- การเขียนบทวีดิทัศน์หนังสั้น
ประเด็นสำคัญในการเขียนบทโทรทัศน์
1. กระบวนการคิดให้เป็นเรื่องสั้น
2. จากโครงเรื่องสู่บทหนังสั้น
3. การเขียนบทโทรทัศน์โดยค านึงถึงผู้ฟังและผู้ชม
4. พิจารณาด้านความงดงามและเทคนิคการผลิตรายการ
5. รูปเเบบบทโทรทัศน์
6. ประเภทบทโทรทัศน์
7. ขั้นตอนการเขียนบทโทรทัศน์
กระบวนการคิดให้เป็นเรื่องสั้น
1.เล่าเพราะเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นกับตัวเอง
2.เล่าเพราะเห็นเจอมา
3.เล่าเพราะจินตนาการ
จากโครงเรื่องเดินสู่การเป็นบท
การยึดหลัก 3 องค์ประกอบ
องค์แรก คือการปูเรื่อง เปิดตัวละคร จนเกิดเหตุการณ์พลิกผันกับตัวละคร นำไปสู่องค์ที่ 2
องค์ที่สอง คือส่วนกลางเรื่อง เล่าเรื่องที่ปูไปสุดจุดหักเหอีกครั้งก่อนจะเข้าสู่ climax (ช่วงจบ) องค์ที่สาม คือบทสรุปของเรื่องคุณสามารถน าหลัก 3องค์ไปปรับใช้ได้กับการเล่าเรื่องทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะโรแมนติก สยองขวัญ หรือหนังแอ็คชั่นเลือดท่วม
1.เพื่อกำหนดรูปรายการ
2.เพื่อบ่งบอกถึงเนื้อหาของรายการ
3.เพื่อจัดลำดับข่าวสารความสำคัญของการผลิต
วันอังคารที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2554
องค์ประกอบในการออกแบบสื่อสร้างสรรค์
องค์ประกอบในการออกแบบ
( DESIGN ELEMENTS )
สาระการนำเสนอ
1. จุด(Point)
2. เส้น(Line)
๓. ทิศทาง(DIRECTION)
4. รูปทรง(FORM)
5. เทคนิคการกลับพื้นภาพมีผลต่อสายตาผู้ดู
6. ขนาดและสัดส่วน(Size & Scale)
7.วัสดุและพื้นผิว( Material and Texture)
8. การจัดองค์ประกอบ (Composition)
8. 1 ความสมดุล (Balance)
8.2 การเน้นให้เกิดจุดเด่น (Emphasis)
8.3 เอกภาพ (Unity)
8.4 ความกลมกลืน (Harmony)
8.5 ความขัดแย้ง (Contrast)
8.6 จังหวะ (Rhythm)
1. จุด (Point) จะเป็นจุดที่ชี้ให้เห็น ตำแหน่งในที่ว่าง หรือที่ต่างๆ
ไม่มีความกว้าง ความยาว ความลึก จุดให้ความรู้สึกคงที่ ไม่มีทิศทาง
ไม่ครอบคลุมพื้นที่ จุดจะเกิดอยู่ในบริเวณต่างๆ
2. เส้น (Line)เส้นเกิดจากการนำจุดหลาย ๆ จุดมาเรียงต่อกัน
หรือเกิดจากจุดเคลื่อนที่ เส้นทางที่จุดเคลื่อนที่ไปคือ เส้น มีความยาว
ไม่มีความกว้างหรือความหนามาก การกำหนดทิศทางของเส้นให้อยู่ใน
แนวที่ต่างกัน จะให้ความรู้สึกที่ต่างกัน ดูมั่นคง บางครั้งดูเคลื่อนไหว และ
เจริญงอกงาม เติบโต
เช่น
-เส้นตั้ง (Vertical Line) ให้ความรู้สึกสูงสง่า แข็งแรง
มั่นคง ถ้าสูงมาก ๆ ก็จะให้ความ รู้สึกไม่ปลอดภัย แต่จะบอกความเติบโต ถ้านำ
มาประยุกต์ในการแต่งกาย โดยใส่เสื้อ ลายแนวเส้นตั้งฉาก แนวดิ่ง จะช่วยให้ดูสูง
ขึ้น และถ้าออกแบบให้ดูผอมลง อาจใช้เพียง2-3 เส้น
-เส้นนอน (Horizontal Line)ให้ความรู้สึกสงบ ราบเรียบ แน่นอน มั่นคง ปลอดภัย
ความนิ่ง พักผ่อนเป็นธรรมชาติ
-เส้นเฉียง (Oblique Line) ให้ความรู้สึกไม่มั่นคงไม่ปลอดภัย ตื่นต้น สนุกสนานแสดง
การเคลื่อนที่ ไม่อยู่นิ่ง เส้นโค้ง (Curve) จะให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว นุ่มนวล อ่อนหวาน
เชื่องช้า กระชับและเป็นอันหนึ่งอันเดียว เส้นกระจาย เป็นเส้นที่ออกจากจุดศูนย์กลาง
ให้ความรู้สึก มีพลังกระปรี้กระเปร่า สร้างสรรค์ เดินทางออกไปทุกทิศพร้อมๆกัน พองออก
แตกตัว เส้นลักษณะอื่นๆ เช่น เส้นหยัก เส้นประ เส้นจุดผสมเส้นประ ต่างก็ให้ความรู้แตกต่างกันออกไป
ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับว่า จะนำไปประกอบกับรูปอะไร
3. ทิศทาง (DIRECTION)ทิศทาง คือ ลักษณะที่แสดงให้รู้ว่า รูปแบบทั้งหมดมีแนวโน้มไป
ทางใด ทำให้ผู้พบเห็นเกิดความรู้สึกว่า มีการเคลื่อนไหว (Movement) นำไปสู่จุดสนใจ
4. รูปทรง (FORM)เกิดจากระนาบที่ปิดล้อมกันทำให้เกิดปริมาตร (Volume) มี 3 มิติ คือ
ความกว้าง ความยาว และความสูง แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ รูปทรงเรขาคณิตและรูปทรง
ธรรมชาติ
1. รูปทรงเรขาคณิต ( Geometric Form ) เป็นรูปทรงที่มีด้านแต่ละด้านคล้ายกัน มีความ
สัมพันธ์กันอย่างเป็นระเบียบ มีแกนที่สมดุล มักจะประกอบด้วยเส้นตรงและเส้นโค้ง ที่มีแบบแผน
ได้แก่ 2. รูปทรงธรรมชาติ ( Original Form) มักจะประกอบด้วยเส้นโค้ง (Curves) เส้นอิสระ ทั้งอยู่ในลักษณะสมดุลและไม่สมดุล รูปทรงธรรมชาติจะให้ความรู้สึกอ่อนไหว 3. รูปทรงอิสระ (Free Form)
รูปด้านแต่ละด้านมักจะไม่สัมพันธ์กัน ไม่มีความสมดุล ไม่เป็นระเบียบ ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหวได้
การเปลี่ยนแปลงรูปทรง เป็นการปรับเปลี่ยนเพื่อความลงตัว ความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ หรือมีรูปทรงใหม่ในเชิงเพิ่ม ลดปริมาตร การแยกส่วน การเจาะทะลุเป็นต้น เช่น
เทคนิคการกลับพื้นภาพมีผลต่อสายตาผู้ดู จากการออกแบบกลับพื้นภาพ ทำให้เกิดการสร้างสรรค์งาน เป็นสัญลักษณ์ (Logo) และเป็นที่นิยม เพราะมีความแปลกใหม่ น่าสนใจ นอกจากนี้ยังมีผลของการมองเห็นว่า ภาพสีขาวที่อยู่ในพื้นสีดำ จะทำให้ดูโตขึ้น 10-15 % เทคนิคนี้นิยมนำไปใช้ทำตัวอักษรพาดหัวข่าวสำคัญในหน้าหนึ่งของหนังสือพิมพ์
ตัวอย่างสัญลักษณ์ (Logo) ที่กลับพื้นหรือใช้เทคนิค ส่วนสีขาวในสีดำ
( ภาพสัญลักษณ์ มาจากหนังสือ โลโก้ สำนักพิมพ์สุขภาพใจ 2542 )
ขนาดและสัดส่วน (Size & Scale)ขนาด (Size) ขนาด คือ การเปรียบเทียบรูปร่างหรือรูปทรง การวัดสัดส่วน
ระยะหรือขอบเขต ของรูปร่างนั้นๆ
สัดส่วน (Scale) สัดส่วน คือ ความเหมาะสมของสิ่งของตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้นไป
มีความสัมพันธ์กัน การหาความสัมพันธ์ของขนาดและสัดส่วนในการออกแบบ
ต้องคำนึงถึงขนาดและสัดส่วนของผู้ใช้และกิจกรรมภายในเป็นหลัก
ในงานออกแบบโดยทั่วไป มีหลักเกี่ยวกับขนาดและสัดส่วนดังนี้- ขนาดที่แตกต่างกัน จะให้ความรู้สึกขัดกัน (Contrast)
- ขนาดใกล้เคียงกัน ให้ความรู้สึกกลมกลืนกัน (Harmony)
- ความแตกต่างของขนาดทำให้เกิดความรู้สึกเคลื่อนไหว (Dynamic)
วัสดุและพื้นผิว ( Material and Texture )วัสดุ (Material) วัสดุ คือ วัตถุดิบที่จะนำมาใช้ในการออกแบบ โดยเลือก
ความเหมาะสม ตรงตามลักษณะของงาน ถ้าทำลงบนกระดาษวาดเขียน
อาจเป็นรูปลอกลวดลายต่างๆแบบทึบแสง ถ้าทำลงบนแผ่นโปร่งใสก็ใช้
รูปหรืออักษรลอกแบบสีโปร่งแสง เป็นต้น
พื้นผิว (Texture) พื้นผิว คือ ลักษณะเฉพาะ ที่เกิดจากโครงสร้างของวัสดุ
อาจนำวัตถุดิบหลาย ๆ อย่างมา สร้างให้เกิดพื้นผิวใหม่ หรือความรู้สึกใน
การแยก จำแนกความเรียบความขรุขระ ความแตกต่างของพื้นผิวในทาง
กราฟิก สามารถแยกออกได้ด้วยประสาทสัมผัส ทางตา เป็นส่วนใหญ่ พื้นผิว
ที่แตกต่างกันจะให้ความรู้สึกต่างกัน เช่น
ผิวขรุขระ ให้ความรู้สึกปลอดภัยมั่นคง แข็งแรง สาก สะดุด หยาบ ระคายเคือง ในบางสถานะทำให้ดูเล็กกว่าความจริง เช่น ผิวขรุขระของกำแพงที่ก่อด้วยศิลาแลงหรือหิน กาบ จะดูแข็งแรงบึกบึน ในการสร้างงานกราฟิกลงบนกระดาษ เช่น รูปหลังคาบ้านลายสังกะสี กระเบื้องลอนแบบต่างๆ ผนังตึก
ซึ่งลวดลาย ขรุขระ เหล่านี้จะนำมาจากแผ่นรูปลอก ซึ่งใน ปัจจุบันใช้ลวดลายสำเร็จรูปจาก
คอมพิวเตอร์ ผิวเรียบมัน ให้ความรู้สึกไม่มั่นคง ลื่น หรูหรา วาบหวาม สดใส แสงสะท้อน ในบางสถานะทำให้ดูใหญ่กว่าปกติ เช่น ผนังตึกที่ฉาบปูนเรียบหรืออาคารที่เป็นกระจกทั้งหลัง จะดูเปราะบาง แวววาว ตัวอย่างงานกราฟิกที่ต้องการความเป็นมันวาว ที่ใช้เทคนิคแผ่นรูปลอกที่มีลายไล่โทนสำเร็จรูป
ตัวอย่างภาพกราฟิกที่สร้างความเป็นมันวาวด้วย เทคนิคพู่กันลม(airbrush) ผสมกับการวาดด้วยมือ
ระนาบ (Plane)ระนาบ คือ เส้นที่ขยายออกไปในทางเดียวกัน จนเกิดเป็นพื้นที่ขึ้นมา แบ่งได้ดังนี้ 1. Overhead plane ระนาบที่อยู่เหนือศีรษะอยู่ข้างบน ให้ความรู้สึกปลอดภัย เหมือนมีหลังคาคลุม มีสิ่งปกป้องจากด้านบน 2. Vertical plane ระนาบแนวตั้ง หรือตัวปิดล้อม
การจัดองค์ประกอบ(Composition) 1. ความสมดุล (Balance) คือ ความเท่ากันหรือเท่าเทียมกันทั้งสองข้าง แบ่งออกเป็น สมดุลแบบทั้ง2 ข้างเหมือนกัน(Symmetrical balance) ทั้งซ้ายขวาเหมือนกันการสมดุลแบบนี้จะทาให้ดูมั่นคงหนักแน่นยุติธรรมเช่นงานราชการใบวุฒิบัตรประกาศนียบัตรการถ่ายรูปติดบัตรเป็นต้น
สมดุลแบบ 2 ข้างไม่เหมือนกัน (Asymmetrical balance) ด้านซ้ายและขวาจะไม่เหมือนกัน แต่มองดูแล้วเท่ากันด้วยน้าหนักทางสายตา เช่น สมดุลด้วยน้าหนักและขนาดของรูปทรง ด้วยจุดสนใจ ด้วยจานวนด้วยความแตกต่างของรายละเอียด ด้วยค่าความเข้ม-จางของสี เป็นต้น
2. การเน้นให้เกิดจุดเด่น (Emphasis)
ในการออกแบบจะประกอบด้วยจุดสำคัญหรือส่วนประธานในภาพจุดรองลงมาหรือส่วนรองประธานส่วนประกอบหรือพวกรายละเอียดปลีกย่อยต่างๆ
หลักและวิธีในการใช้การเน้น
-เน้นด้วยการใช้หลักเรื่องContrast
เน้นด้วยการประดับ-เน้นด้วยการจัดกลุ่มในส่วนที่ต้องการเน้น-เน้นด้วยการใช้สี-เน้นด้วยขนาด-เน้นด้วยการทาจุดรวมสายตา
เน้นด้วยการจัดกลุ่มในส่วนที่ต้องการเน้น
-เน้นด้วยการใช้สี
-เน้นด้วยขนาด
-เน้นด้วยการทาจุดรวมสายตา
3. เอกภาพ (Unity)ความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน เป็นกลุ่มเป็นก้อน โดยที่องค์ประกอบภายในต้องกลมกลืนกันมี 2 แบบคือ
เอกภาพแบบหยุดนิ่ง(Static unity) โดยใช้รูปทรงเรขาคณิตทาให้เกิดลักษณะหนักแน่น
เอกภาพแบบเคลื่อนไหว (Dynamic unity) ใช้รูปทรงหรือรูปร่างแบบธรรมชาติทาให้เคลื่อนไหวสนุกสนาน
4. ความกลมกลืน (Harmony)การจัดองค์ประกอบที่ใกล้เคียงกันหรือคล้ายๆกันมาจัดภาพทาให้เกิดความนุ่มนวลกลมกลืนกันมี3 แบบคือ 4.1 กลมกลืนในด้านประโยชน์ใช้สอย คือ
ทาให้เป็นชุดเดียวกัน 4.2 กลมกลืนในความหมาย เช่น การออกแบบเครื่องหมายการค้า& โลโก้ 4.3 กลมกลืนในองค์ประกอบ ได้แก่
4.3.1 กลมกลืนด้วยเส้น-ทิศทาง
4.3.2 กลมกลืนด้วยรูปทรง-รูปร่าง
4.3.3 กลมกลืนด้วยวัสดุ
4.3.4 พื้นผิว 4.3.5 กลมกลืนด้วยสี มักใช้โทรสีที่ใกล้กัน
4.3.6 กลมกลืนด้วยขนาด-สัดส่วน
4.3.7 กลมกลืนด้วยน้าหนัก
5. ความขัดแย้ง (Contrast) การจัดองค์ประกอบให้เกิดความแตกต่างเพื่อดึงดูดความสนใจหรือให้เกิดความสนุกตื่นเต้นน่าสนใจลดความเรียบน่าเบื่อให้ความรู้สึกฝืนใจขัดใจแต่ชวนมอง
6. จังหวะ(Rhythm) จังหวะเกิดจากการต่อเนื่องกันหรือซ้าซ้อนกันจังหวะที่ดีทาให้ภาพดูสนุกเปรียบได้กับเสียงเพลงอันไพเราะในด้านการออกแบบแบ่งจังหวะเป็น3 แบบคือ
6.1 จังหวะแบบเหมือนกันซ้าๆกันเป็นการนาเอาองค์ประกอบหรือรูปที่เหมือนๆกันมาจัดวางเรียงต่อกันทาให้ดูมีระเบียบ(Order) เป็นทางการการออกแบบลายต่อเนื่องเช่นลายเหล็กดัดลายกระเบื้องปูพื้นหรือผนังลายผ้าเป็นต้น
6.2 จังหวะสลับกันไปแบบคงที่ เป็นการนาองค์ประกอบหรือรูปที่ต่างกันมาวางสลับกันอย่างต่อเนื่องเป็นชุดเป็นช่วงให้ความรู้สึกเป็นระบบสม่าเสมอความแน่นอน
6.3 จังหวะสลับกันไปแบบไม่คงที่ เป็นการนาองค์ประกอบหรือรูปที่ต่างกันมาวางสลับกัน อย่างอิสระ ทั้งขนาด ทิศทาง ระยะห่าง ให้ความรู้สึกสนุกสนาน
6.4 จังหวะจากเล็กไปใหญ่หรือจากใหญ่ไปเล็ก เป็นการนารูปที่เหมือนกัน มาเรียงต่อกัน แต่มีขนาดต่างกันโดยเรียงจากเล็กไปใหญ่หรือจากใหญ่ไปเล็กอย่างต่อ เนื่องทาให้ภาพมีความลึก มีมิติ
7. ความง่าย (Simlicity)
เป็นการจัดให้ดูโล่งสบายตาไม่ยุ่งยากซับซ้อนมีมโนทัศน์เดียวลดการมีฉากหลังหรือภาพประกอบอื่นๆที่ไม่จาเป็นหรือไม่เกี่ยวข้องออกไปเพราะการมีฉากหลังรกทาให้ภาพหลักไม่เด่นนิยมใช้ในการถ่ายภาพที่ปรับฉากหลังให้เบลอเป็นภาพเกี่ยวกับดอกไม้แมลงสัตว์และบุคคลนางแบบเป็นต้น
8. ความลึก (Perspective) ให้ภาพดูสมจริงคือภาพวัตถุใดอยู่ใกล้จะใหญ่ถ้าอยู่ไกลออกไปจะมองเห็นเล็กลงตามลาดับจนสุดสายตาซึ่งมีมุมมองหลักๆอยู่3 ลักษณะคือวัตถุอยู่สูงกว่าระดับตาวัตถุอยู่ในระดับสายตาและวัตถุอยู่ต่ากว่าระดับสายตา
( DESIGN ELEMENTS )
สาระการนำเสนอ
1. จุด(Point)
2. เส้น(Line)
๓. ทิศทาง(DIRECTION)
4. รูปทรง(FORM)
5. เทคนิคการกลับพื้นภาพมีผลต่อสายตาผู้ดู
6. ขนาดและสัดส่วน(Size & Scale)
7.วัสดุและพื้นผิว( Material and Texture)
8. การจัดองค์ประกอบ (Composition)
8. 1 ความสมดุล (Balance)
8.2 การเน้นให้เกิดจุดเด่น (Emphasis)
8.3 เอกภาพ (Unity)
8.4 ความกลมกลืน (Harmony)
8.5 ความขัดแย้ง (Contrast)
8.6 จังหวะ (Rhythm)
1. จุด (Point) จะเป็นจุดที่ชี้ให้เห็น ตำแหน่งในที่ว่าง หรือที่ต่างๆ
ไม่มีความกว้าง ความยาว ความลึก จุดให้ความรู้สึกคงที่ ไม่มีทิศทาง
ไม่ครอบคลุมพื้นที่ จุดจะเกิดอยู่ในบริเวณต่างๆ
2. เส้น (Line)เส้นเกิดจากการนำจุดหลาย ๆ จุดมาเรียงต่อกัน
หรือเกิดจากจุดเคลื่อนที่ เส้นทางที่จุดเคลื่อนที่ไปคือ เส้น มีความยาว
ไม่มีความกว้างหรือความหนามาก การกำหนดทิศทางของเส้นให้อยู่ใน
แนวที่ต่างกัน จะให้ความรู้สึกที่ต่างกัน ดูมั่นคง บางครั้งดูเคลื่อนไหว และ
เจริญงอกงาม เติบโต
เช่น
-เส้นตั้ง (Vertical Line) ให้ความรู้สึกสูงสง่า แข็งแรง
มั่นคง ถ้าสูงมาก ๆ ก็จะให้ความ รู้สึกไม่ปลอดภัย แต่จะบอกความเติบโต ถ้านำ
มาประยุกต์ในการแต่งกาย โดยใส่เสื้อ ลายแนวเส้นตั้งฉาก แนวดิ่ง จะช่วยให้ดูสูง
ขึ้น และถ้าออกแบบให้ดูผอมลง อาจใช้เพียง2-3 เส้น
-เส้นนอน (Horizontal Line)ให้ความรู้สึกสงบ ราบเรียบ แน่นอน มั่นคง ปลอดภัย
ความนิ่ง พักผ่อนเป็นธรรมชาติ
-เส้นเฉียง (Oblique Line) ให้ความรู้สึกไม่มั่นคงไม่ปลอดภัย ตื่นต้น สนุกสนานแสดง
การเคลื่อนที่ ไม่อยู่นิ่ง เส้นโค้ง (Curve) จะให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว นุ่มนวล อ่อนหวาน
เชื่องช้า กระชับและเป็นอันหนึ่งอันเดียว เส้นกระจาย เป็นเส้นที่ออกจากจุดศูนย์กลาง
ให้ความรู้สึก มีพลังกระปรี้กระเปร่า สร้างสรรค์ เดินทางออกไปทุกทิศพร้อมๆกัน พองออก
แตกตัว เส้นลักษณะอื่นๆ เช่น เส้นหยัก เส้นประ เส้นจุดผสมเส้นประ ต่างก็ให้ความรู้แตกต่างกันออกไป
ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับว่า จะนำไปประกอบกับรูปอะไร
3. ทิศทาง (DIRECTION)ทิศทาง คือ ลักษณะที่แสดงให้รู้ว่า รูปแบบทั้งหมดมีแนวโน้มไป
ทางใด ทำให้ผู้พบเห็นเกิดความรู้สึกว่า มีการเคลื่อนไหว (Movement) นำไปสู่จุดสนใจ
4. รูปทรง (FORM)เกิดจากระนาบที่ปิดล้อมกันทำให้เกิดปริมาตร (Volume) มี 3 มิติ คือ
ความกว้าง ความยาว และความสูง แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ รูปทรงเรขาคณิตและรูปทรง
ธรรมชาติ
1. รูปทรงเรขาคณิต ( Geometric Form ) เป็นรูปทรงที่มีด้านแต่ละด้านคล้ายกัน มีความ
สัมพันธ์กันอย่างเป็นระเบียบ มีแกนที่สมดุล มักจะประกอบด้วยเส้นตรงและเส้นโค้ง ที่มีแบบแผน
ได้แก่ 2. รูปทรงธรรมชาติ ( Original Form) มักจะประกอบด้วยเส้นโค้ง (Curves) เส้นอิสระ ทั้งอยู่ในลักษณะสมดุลและไม่สมดุล รูปทรงธรรมชาติจะให้ความรู้สึกอ่อนไหว 3. รูปทรงอิสระ (Free Form)
รูปด้านแต่ละด้านมักจะไม่สัมพันธ์กัน ไม่มีความสมดุล ไม่เป็นระเบียบ ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหวได้
การเปลี่ยนแปลงรูปทรง เป็นการปรับเปลี่ยนเพื่อความลงตัว ความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ หรือมีรูปทรงใหม่ในเชิงเพิ่ม ลดปริมาตร การแยกส่วน การเจาะทะลุเป็นต้น เช่น
เทคนิคการกลับพื้นภาพมีผลต่อสายตาผู้ดู จากการออกแบบกลับพื้นภาพ ทำให้เกิดการสร้างสรรค์งาน เป็นสัญลักษณ์ (Logo) และเป็นที่นิยม เพราะมีความแปลกใหม่ น่าสนใจ นอกจากนี้ยังมีผลของการมองเห็นว่า ภาพสีขาวที่อยู่ในพื้นสีดำ จะทำให้ดูโตขึ้น 10-15 % เทคนิคนี้นิยมนำไปใช้ทำตัวอักษรพาดหัวข่าวสำคัญในหน้าหนึ่งของหนังสือพิมพ์
ตัวอย่างสัญลักษณ์ (Logo) ที่กลับพื้นหรือใช้เทคนิค ส่วนสีขาวในสีดำ
( ภาพสัญลักษณ์ มาจากหนังสือ โลโก้ สำนักพิมพ์สุขภาพใจ 2542 )
ขนาดและสัดส่วน (Size & Scale)ขนาด (Size) ขนาด คือ การเปรียบเทียบรูปร่างหรือรูปทรง การวัดสัดส่วน
ระยะหรือขอบเขต ของรูปร่างนั้นๆ
สัดส่วน (Scale) สัดส่วน คือ ความเหมาะสมของสิ่งของตั้งแต่ 2 สิ่งขึ้นไป
มีความสัมพันธ์กัน การหาความสัมพันธ์ของขนาดและสัดส่วนในการออกแบบ
ต้องคำนึงถึงขนาดและสัดส่วนของผู้ใช้และกิจกรรมภายในเป็นหลัก
ในงานออกแบบโดยทั่วไป มีหลักเกี่ยวกับขนาดและสัดส่วนดังนี้- ขนาดที่แตกต่างกัน จะให้ความรู้สึกขัดกัน (Contrast)
- ขนาดใกล้เคียงกัน ให้ความรู้สึกกลมกลืนกัน (Harmony)
- ความแตกต่างของขนาดทำให้เกิดความรู้สึกเคลื่อนไหว (Dynamic)
วัสดุและพื้นผิว ( Material and Texture )วัสดุ (Material) วัสดุ คือ วัตถุดิบที่จะนำมาใช้ในการออกแบบ โดยเลือก
ความเหมาะสม ตรงตามลักษณะของงาน ถ้าทำลงบนกระดาษวาดเขียน
อาจเป็นรูปลอกลวดลายต่างๆแบบทึบแสง ถ้าทำลงบนแผ่นโปร่งใสก็ใช้
รูปหรืออักษรลอกแบบสีโปร่งแสง เป็นต้น
พื้นผิว (Texture) พื้นผิว คือ ลักษณะเฉพาะ ที่เกิดจากโครงสร้างของวัสดุ
อาจนำวัตถุดิบหลาย ๆ อย่างมา สร้างให้เกิดพื้นผิวใหม่ หรือความรู้สึกใน
การแยก จำแนกความเรียบความขรุขระ ความแตกต่างของพื้นผิวในทาง
กราฟิก สามารถแยกออกได้ด้วยประสาทสัมผัส ทางตา เป็นส่วนใหญ่ พื้นผิว
ที่แตกต่างกันจะให้ความรู้สึกต่างกัน เช่น
ผิวขรุขระ ให้ความรู้สึกปลอดภัยมั่นคง แข็งแรง สาก สะดุด หยาบ ระคายเคือง ในบางสถานะทำให้ดูเล็กกว่าความจริง เช่น ผิวขรุขระของกำแพงที่ก่อด้วยศิลาแลงหรือหิน กาบ จะดูแข็งแรงบึกบึน ในการสร้างงานกราฟิกลงบนกระดาษ เช่น รูปหลังคาบ้านลายสังกะสี กระเบื้องลอนแบบต่างๆ ผนังตึก
ซึ่งลวดลาย ขรุขระ เหล่านี้จะนำมาจากแผ่นรูปลอก ซึ่งใน ปัจจุบันใช้ลวดลายสำเร็จรูปจาก
คอมพิวเตอร์ ผิวเรียบมัน ให้ความรู้สึกไม่มั่นคง ลื่น หรูหรา วาบหวาม สดใส แสงสะท้อน ในบางสถานะทำให้ดูใหญ่กว่าปกติ เช่น ผนังตึกที่ฉาบปูนเรียบหรืออาคารที่เป็นกระจกทั้งหลัง จะดูเปราะบาง แวววาว ตัวอย่างงานกราฟิกที่ต้องการความเป็นมันวาว ที่ใช้เทคนิคแผ่นรูปลอกที่มีลายไล่โทนสำเร็จรูป
ตัวอย่างภาพกราฟิกที่สร้างความเป็นมันวาวด้วย เทคนิคพู่กันลม(airbrush) ผสมกับการวาดด้วยมือ
ระนาบ (Plane)ระนาบ คือ เส้นที่ขยายออกไปในทางเดียวกัน จนเกิดเป็นพื้นที่ขึ้นมา แบ่งได้ดังนี้ 1. Overhead plane ระนาบที่อยู่เหนือศีรษะอยู่ข้างบน ให้ความรู้สึกปลอดภัย เหมือนมีหลังคาคลุม มีสิ่งปกป้องจากด้านบน 2. Vertical plane ระนาบแนวตั้ง หรือตัวปิดล้อม
การจัดองค์ประกอบ(Composition) 1. ความสมดุล (Balance) คือ ความเท่ากันหรือเท่าเทียมกันทั้งสองข้าง แบ่งออกเป็น สมดุลแบบทั้ง2 ข้างเหมือนกัน(Symmetrical balance) ทั้งซ้ายขวาเหมือนกันการสมดุลแบบนี้จะทาให้ดูมั่นคงหนักแน่นยุติธรรมเช่นงานราชการใบวุฒิบัตรประกาศนียบัตรการถ่ายรูปติดบัตรเป็นต้น
สมดุลแบบ 2 ข้างไม่เหมือนกัน (Asymmetrical balance) ด้านซ้ายและขวาจะไม่เหมือนกัน แต่มองดูแล้วเท่ากันด้วยน้าหนักทางสายตา เช่น สมดุลด้วยน้าหนักและขนาดของรูปทรง ด้วยจุดสนใจ ด้วยจานวนด้วยความแตกต่างของรายละเอียด ด้วยค่าความเข้ม-จางของสี เป็นต้น
2. การเน้นให้เกิดจุดเด่น (Emphasis)
ในการออกแบบจะประกอบด้วยจุดสำคัญหรือส่วนประธานในภาพจุดรองลงมาหรือส่วนรองประธานส่วนประกอบหรือพวกรายละเอียดปลีกย่อยต่างๆ
หลักและวิธีในการใช้การเน้น
-เน้นด้วยการใช้หลักเรื่องContrast
เน้นด้วยการประดับ-เน้นด้วยการจัดกลุ่มในส่วนที่ต้องการเน้น-เน้นด้วยการใช้สี-เน้นด้วยขนาด-เน้นด้วยการทาจุดรวมสายตา
เน้นด้วยการจัดกลุ่มในส่วนที่ต้องการเน้น
-เน้นด้วยการใช้สี
-เน้นด้วยขนาด
-เน้นด้วยการทาจุดรวมสายตา
3. เอกภาพ (Unity)ความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน เป็นกลุ่มเป็นก้อน โดยที่องค์ประกอบภายในต้องกลมกลืนกันมี 2 แบบคือ
เอกภาพแบบหยุดนิ่ง(Static unity) โดยใช้รูปทรงเรขาคณิตทาให้เกิดลักษณะหนักแน่น
เอกภาพแบบเคลื่อนไหว (Dynamic unity) ใช้รูปทรงหรือรูปร่างแบบธรรมชาติทาให้เคลื่อนไหวสนุกสนาน
4. ความกลมกลืน (Harmony)การจัดองค์ประกอบที่ใกล้เคียงกันหรือคล้ายๆกันมาจัดภาพทาให้เกิดความนุ่มนวลกลมกลืนกันมี3 แบบคือ 4.1 กลมกลืนในด้านประโยชน์ใช้สอย คือ
ทาให้เป็นชุดเดียวกัน 4.2 กลมกลืนในความหมาย เช่น การออกแบบเครื่องหมายการค้า& โลโก้ 4.3 กลมกลืนในองค์ประกอบ ได้แก่
4.3.1 กลมกลืนด้วยเส้น-ทิศทาง
4.3.2 กลมกลืนด้วยรูปทรง-รูปร่าง
4.3.3 กลมกลืนด้วยวัสดุ
4.3.4 พื้นผิว 4.3.5 กลมกลืนด้วยสี มักใช้โทรสีที่ใกล้กัน
4.3.6 กลมกลืนด้วยขนาด-สัดส่วน
4.3.7 กลมกลืนด้วยน้าหนัก
5. ความขัดแย้ง (Contrast) การจัดองค์ประกอบให้เกิดความแตกต่างเพื่อดึงดูดความสนใจหรือให้เกิดความสนุกตื่นเต้นน่าสนใจลดความเรียบน่าเบื่อให้ความรู้สึกฝืนใจขัดใจแต่ชวนมอง
6. จังหวะ(Rhythm) จังหวะเกิดจากการต่อเนื่องกันหรือซ้าซ้อนกันจังหวะที่ดีทาให้ภาพดูสนุกเปรียบได้กับเสียงเพลงอันไพเราะในด้านการออกแบบแบ่งจังหวะเป็น3 แบบคือ
6.1 จังหวะแบบเหมือนกันซ้าๆกันเป็นการนาเอาองค์ประกอบหรือรูปที่เหมือนๆกันมาจัดวางเรียงต่อกันทาให้ดูมีระเบียบ(Order) เป็นทางการการออกแบบลายต่อเนื่องเช่นลายเหล็กดัดลายกระเบื้องปูพื้นหรือผนังลายผ้าเป็นต้น
6.2 จังหวะสลับกันไปแบบคงที่ เป็นการนาองค์ประกอบหรือรูปที่ต่างกันมาวางสลับกันอย่างต่อเนื่องเป็นชุดเป็นช่วงให้ความรู้สึกเป็นระบบสม่าเสมอความแน่นอน
6.3 จังหวะสลับกันไปแบบไม่คงที่ เป็นการนาองค์ประกอบหรือรูปที่ต่างกันมาวางสลับกัน อย่างอิสระ ทั้งขนาด ทิศทาง ระยะห่าง ให้ความรู้สึกสนุกสนาน
6.4 จังหวะจากเล็กไปใหญ่หรือจากใหญ่ไปเล็ก เป็นการนารูปที่เหมือนกัน มาเรียงต่อกัน แต่มีขนาดต่างกันโดยเรียงจากเล็กไปใหญ่หรือจากใหญ่ไปเล็กอย่างต่อ เนื่องทาให้ภาพมีความลึก มีมิติ
7. ความง่าย (Simlicity)
เป็นการจัดให้ดูโล่งสบายตาไม่ยุ่งยากซับซ้อนมีมโนทัศน์เดียวลดการมีฉากหลังหรือภาพประกอบอื่นๆที่ไม่จาเป็นหรือไม่เกี่ยวข้องออกไปเพราะการมีฉากหลังรกทาให้ภาพหลักไม่เด่นนิยมใช้ในการถ่ายภาพที่ปรับฉากหลังให้เบลอเป็นภาพเกี่ยวกับดอกไม้แมลงสัตว์และบุคคลนางแบบเป็นต้น
8. ความลึก (Perspective) ให้ภาพดูสมจริงคือภาพวัตถุใดอยู่ใกล้จะใหญ่ถ้าอยู่ไกลออกไปจะมองเห็นเล็กลงตามลาดับจนสุดสายตาซึ่งมีมุมมองหลักๆอยู่3 ลักษณะคือวัตถุอยู่สูงกว่าระดับตาวัตถุอยู่ในระดับสายตาและวัตถุอยู่ต่ากว่าระดับสายตา
วันจันทร์ที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2554
จิตวิทยาสีของการออกแบบและการนำเสนอ
จิตวิทยาในการใช้สี
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสี
แม่สีหรือสีขั้นต้น ทั้งสามประกอบด้วย สีแดง,เหลือง และน้ำเงิน เหตุที่ทั้งสามนี้ถือว่าเป็นแม่สีหลัก เพราะว่าสีทั้งสามเป็นสีไม่สามารถเกิดขึ้นจากการผสมสีอื่นๆ และยังเป็นสีต้นกำเนิดของสีอื่นๆ
การผสมสี (Color Mixing)
รูปแบบการผสมสีเพื่อให้เกิดเป็นสีต่างๆ สามารถแบ่งได้ 2 แบบคือ
- การผสมสีของแสง หรือการผสมสีแบบบวก
- การผสมสีของแสงของวัตถุ หรือการผสมสีแบบลบ
วรรณะของสี
วรรณะของสี หมายถึง กลุ่มสีที่ปรากฏให้ความรู้สึกที่แตกต่างกัน
สังเกตจากวงล้อสีจะปรากฏ เป็น 2 วรรณะ คือ
วรรณะสีร้อน ลักษณะของสีจะให้ความรู้สึกสดใสร้อนแรงฉูดฉาดหรือรื่นเริงสีในกลุ่มนี้ได้แก่ สีเหลืองสีแดงสีแสดและสีที่ใกล้เคียง
วรรณะสีเย็น ความรู้สึกที่ปรากฏในภาพจะแสดงความสงบ เยือกเย็นจนถึงความเศร้า ได้แก่ สีน้ำเงิน สีม่วง สีเขียว และสีที่ใกล้เคียง
สีแสดงอารมณ์
สีแดง
เป็นสีของไฟ การปฏิวัติ ความรู้สึกทางกามารมณ์ ความปรารถนา
สีของความอ่อนเยาว์ ดังนั้นจึงเป็นที่ชอบมากสำหรับเด็กเล็กๆ
สีแดงเป็นสีที่มีพลังมากสามารถบดบังสีอื่นๆ
จึงไม่เหมาะที่จะใช้เป็นสีพื้นหรือฉากหลัง
สีเหลือง เขียว และม่วงทุกระดับสี
มีค่าสีแตกต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสีที่มาผสม
สีดังกล่าวอาจทำให้เกิดความรู้สึกในทางบวก
การแสดงออกเต็มไปด้วยความรู้สึกชาญฉลาด หรือให้ความรู้สึกในทางลบ
และเก็บกดก็เป็นได้ เมื่อนำสีแดงมาผสมกับสีขาวจะเป็นสีชมพู สีแดงจะลดพลังลง
และทำให้รู้สึกถึงความอ่อนหวาน นุ่มนวล และความเป็นกวีขึ้นมาแทน
แต่ถ้าสีแดงและเหลืองถูกผสมให้เข้ม ผลลัพธ์ก็คือสีน้ำตาล
ซึ่งมีความอ่อนแก่ต่างกัน แต่ไม่ว่าจะอ่อนแก่เพียงใด
สีประเภทน้ำตาลจะให้ความรู้สึกเกี่ยวกับพื้นดิน ความมั่นคง แข็งแรง
เข้มแข็ง ความเป็นจริง อบอุ่น
สำหรับสีเหลือง
เป็นสีที่มีพลังในด้านความสว่างอย่างมาก
ให้ความรู้สึกเย็นมากกว่าสีเหลืองอมส้ม แต่ก็อุ่นกว่าสีเหลืองอมเขียว
สีเหลืองสะท้อนถึงสติปัญญามากกว่าจิตใจ คุณลักษณะของสีเหลือง
จะรู้สึกได้เมื่อมีสีที่สองปรากฏอยู่ด้วย เช่น
เมื่ออยู่กับสีเขียวจะทำให้รู้สึกมั่นคง และจับต้องได้มากขึ้้น
สีเขียวเป็นสีทางชีววิทยาซึ่งใกล้เคียงกับธรรมชาติ
และช่วยให้ความคิดพลุ่นพล่านสงบลง เป็นสีกลางๆ ไม่เย็นและก็ไม่ร้อน
แต่ถ้าเข้มขึ้นไปในทางสีน้ำเงินจะดูเป็นน้ำ สีเขียวอมฟ้า สีฟ้าพลอย
เป็นสัญลักษณ์ของน้ำ และอาการเคลื่อนไหว
โดยปกติแล้วสีเขียวอมฟ้าเป็นสีตรงข้ามกับสีฟ้า
สีม่วง
แสดงถึงความใคร่ครวญ การทำสมาธิ ความลึกลับ เวทมนต์คาถา
และความเก่าแก่โบราณ แม้ว่าจะผสมสีขาวให้เป็นสีม่วงไลแลค
ก็ยังทำให้คนที่มองเห็นไม่กล้าเข้าใกล้ ไม่รู้สึกเป็นมิตร
สีม่วงครามซึ่งใกล้สีน้ำเงินมาก จะดูเกี่ยวข้องกับโลกมากกว่าสีม่วงแดง
แต่ยังให้ความเป็นเจ้านายและเต็มไปด้วยเกียรติยศอยู่นั้นเอง
สีทอง
มีตำแหน่งใกล้สีส้ม และนับว่าเป็นสีอุ่นสีหนึ่ง
ในขณะที่สีเงินถูกจัดให้เป็นสีเย็น และมีความคล้ายคลึงกับสีเทากลาง
การใช้สีเงินออกยากกว่าเนื่องจากต้องมีสีอุ่นมาใช้ร่วมด้วยหากว่าต้องการผล
ของความรู้สึกในทางบวก
สีเทา
สำหรับสีเทาซึ่งมีระดับสีอ่อนแก่แตกต่างกันมากหลายระดับ
อาจจะเป็นที่คุ้นเคยกันดีจากการดูภาพขาวดำ
การอ่านหนังสือพิมพ์และหนังสือทั่วไป
สีดำ
สีดำ ซึ่งเรียกว่า อรงค์ คือ ถือว่าไม่ใช่สีดำ เป็นสัญลักษณ์ของความมืด
ความว่าง ในการตีพิมพ์สีดำมีค่าในทางบวกมาก
เนื่องจากเมื่อเราไม่ใช้สีอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นภาพหรืออักษรวางลงไป
ก็จะทำให้สีเหล่านั้นเจิดจ้าสะดุดตาขึ้น
สีขาวสีขาวก็เช่นกัน ไม่เป็นทั้งสีอุ่นและเย็น ยกเว้นเมื่ออยู่กับสีเหลือง
จะทำให้สีเหลืองจ้าขึ้น เราสามารถวางภาพหรืออักษรสีต่างๆ
ลงบนพื้นขาวได้ผลดีเช่นเดียวกับสีดำ
สีใกล้เคียง (Relate Colors) สีที่อยู่ใกล้เคียงกัน ในวงจรสี เราสามารถ กาหนดสีใกล้เคียงได้โดย ยึดสีใดสีหนึ่งเป็นหลักก่อน แล้วนับไปทางซ้ายหรือขวาทางใดทางหนึ่ง หรือทั้ง 2 ทาง นับร่วมกับสีหลักแล้วไม่เกิน 4 สี ถือว่าเป็นกลุ่มสีที่กลมกลืน และถ้าจะให้สีกลมกลืนกันที่สุดก็นับเพียง 3 สี เท่านั้น
การกลับค่าของสี (DISCORD)
การสร้างความแตกต่างหรือความขัดแย้งที่เหมาะสมได้จังหวะส่งเสริมให้มีสีสันน่าดูขึ้นทั้งนี้เพราะการใชสีกลมกลืนบางครั้งดูจืดชืดเกินไปการสร้างความขัดแย้งในบางจุดทาให้ภาพดูตื่นเต้นขึ้น
1. สีเหลือง กับ สีม่วง
2. สีเขียว กับ สีแดง
3. สีส้ม กับ สีน้ำเงิน
4. สีเขียวเหลือง กับ สีม่วงแดง
5. สีเขียวน้าเงิน กับ สีส้มแดง
6. สีส้มเหลือง กับ สีม่วงน้ำเงิน
การใช้สีสมดุล (Symmetrical Coloring) เป็นการใช้สีโดยแบ่งภาพออกเป็นสองส่วนซ้ายขวาหรือส่วนบนล่างเมื่อระบายสีลงในด้านใดให้ระบายสี
นั้นในด้านตรงกันข้ามด้วยจะได้ภาพที่มีสีสดในประสานส่งเสริมกันอย่างน่าดูยิ่งโดยมีความสมดุลของทั้งสองด้านเป็นตัวควบคุม
การใช้สีจตุสัมพันธ์ (Quadratic Color) สีจตุสัมพันธ์ เป็นสีที่มีค่าของสีที่ตัดกัน โดยน้าหนัก ไม่ใช้ตัดกัน โดยแท้จริง (True Contrast) หรือเป็นสีคู่ (Complementary Colors) แต่น้าหนักที่ตัดกันนั้น น้อยกว่า สีไตรสัมพันธ์ และสีชุดจตุสัมพันธ์นี้ จะเป็นสีที่อยู่ในวรรณะใดวรรณะหนึ่ง (Warm Tone or Cool Tone) อยู่2สีและอีกวรรณหนึ่ง 2 สีประสิทธิภาพของการใช้สีไตรสัมพันธ์นี้ นอกจากค่าน้าหนัก และความจัดของสีใไม่รุนแรงมากนักแล้ว ยังมีความหลากหลายของสี มากขึ้นซึ่งการนาไปใช้ต้องพิจารณาร่วมกับ ความเหมาะสมของแต่ละ ชิ้นงาน และแต่ละจุดประสงค์ด้วย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสี
แม่สีหรือสีขั้นต้น ทั้งสามประกอบด้วย สีแดง,เหลือง และน้ำเงิน เหตุที่ทั้งสามนี้ถือว่าเป็นแม่สีหลัก เพราะว่าสีทั้งสามเป็นสีไม่สามารถเกิดขึ้นจากการผสมสีอื่นๆ และยังเป็นสีต้นกำเนิดของสีอื่นๆ
การผสมสี (Color Mixing)
รูปแบบการผสมสีเพื่อให้เกิดเป็นสีต่างๆ สามารถแบ่งได้ 2 แบบคือ
- การผสมสีของแสง หรือการผสมสีแบบบวก
- การผสมสีของแสงของวัตถุ หรือการผสมสีแบบลบ
วรรณะของสี
วรรณะของสี หมายถึง กลุ่มสีที่ปรากฏให้ความรู้สึกที่แตกต่างกัน
สังเกตจากวงล้อสีจะปรากฏ เป็น 2 วรรณะ คือ
วรรณะสีร้อน ลักษณะของสีจะให้ความรู้สึกสดใสร้อนแรงฉูดฉาดหรือรื่นเริงสีในกลุ่มนี้ได้แก่ สีเหลืองสีแดงสีแสดและสีที่ใกล้เคียง
วรรณะสีเย็น ความรู้สึกที่ปรากฏในภาพจะแสดงความสงบ เยือกเย็นจนถึงความเศร้า ได้แก่ สีน้ำเงิน สีม่วง สีเขียว และสีที่ใกล้เคียง
สีแสดงอารมณ์
สีแดง
เป็นสีของไฟ การปฏิวัติ ความรู้สึกทางกามารมณ์ ความปรารถนา
สีของความอ่อนเยาว์ ดังนั้นจึงเป็นที่ชอบมากสำหรับเด็กเล็กๆ
สีแดงเป็นสีที่มีพลังมากสามารถบดบังสีอื่นๆ
จึงไม่เหมาะที่จะใช้เป็นสีพื้นหรือฉากหลัง
สีเหลือง เขียว และม่วงทุกระดับสี
มีค่าสีแตกต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสีที่มาผสม
สีดังกล่าวอาจทำให้เกิดความรู้สึกในทางบวก
การแสดงออกเต็มไปด้วยความรู้สึกชาญฉลาด หรือให้ความรู้สึกในทางลบ
และเก็บกดก็เป็นได้ เมื่อนำสีแดงมาผสมกับสีขาวจะเป็นสีชมพู สีแดงจะลดพลังลง
และทำให้รู้สึกถึงความอ่อนหวาน นุ่มนวล และความเป็นกวีขึ้นมาแทน
แต่ถ้าสีแดงและเหลืองถูกผสมให้เข้ม ผลลัพธ์ก็คือสีน้ำตาล
ซึ่งมีความอ่อนแก่ต่างกัน แต่ไม่ว่าจะอ่อนแก่เพียงใด
สีประเภทน้ำตาลจะให้ความรู้สึกเกี่ยวกับพื้นดิน ความมั่นคง แข็งแรง
เข้มแข็ง ความเป็นจริง อบอุ่น
สำหรับสีเหลือง
เป็นสีที่มีพลังในด้านความสว่างอย่างมาก
ให้ความรู้สึกเย็นมากกว่าสีเหลืองอมส้ม แต่ก็อุ่นกว่าสีเหลืองอมเขียว
สีเหลืองสะท้อนถึงสติปัญญามากกว่าจิตใจ คุณลักษณะของสีเหลือง
จะรู้สึกได้เมื่อมีสีที่สองปรากฏอยู่ด้วย เช่น
เมื่ออยู่กับสีเขียวจะทำให้รู้สึกมั่นคง และจับต้องได้มากขึ้้น
สีเขียวเป็นสีทางชีววิทยาซึ่งใกล้เคียงกับธรรมชาติ
และช่วยให้ความคิดพลุ่นพล่านสงบลง เป็นสีกลางๆ ไม่เย็นและก็ไม่ร้อน
แต่ถ้าเข้มขึ้นไปในทางสีน้ำเงินจะดูเป็นน้ำ สีเขียวอมฟ้า สีฟ้าพลอย
เป็นสัญลักษณ์ของน้ำ และอาการเคลื่อนไหว
โดยปกติแล้วสีเขียวอมฟ้าเป็นสีตรงข้ามกับสีฟ้า
สีน้ำเงิน
เป็นสีที่เก็บกด ช่างฝัน เปล่าเปลี่ยว
ถึงแม้ว่าจะทำให้ใสขึ้นโดยการผสมสีขาวเข้าไปก็ตาม
สีน้ำเงินให้ความประทับใจเกี่ยวกับความสะอาด บริสุทธิ์จึงมักใช้ในที่ต้องการแสดงสุขอนามัย
สีม่วง
แสดงถึงความใคร่ครวญ การทำสมาธิ ความลึกลับ เวทมนต์คาถา
และความเก่าแก่โบราณ แม้ว่าจะผสมสีขาวให้เป็นสีม่วงไลแลค
ก็ยังทำให้คนที่มองเห็นไม่กล้าเข้าใกล้ ไม่รู้สึกเป็นมิตร
สีม่วงครามซึ่งใกล้สีน้ำเงินมาก จะดูเกี่ยวข้องกับโลกมากกว่าสีม่วงแดง
แต่ยังให้ความเป็นเจ้านายและเต็มไปด้วยเกียรติยศอยู่นั้นเอง
สีทอง
มีตำแหน่งใกล้สีส้ม และนับว่าเป็นสีอุ่นสีหนึ่ง
ในขณะที่สีเงินถูกจัดให้เป็นสีเย็น และมีความคล้ายคลึงกับสีเทากลาง
การใช้สีเงินออกยากกว่าเนื่องจากต้องมีสีอุ่นมาใช้ร่วมด้วยหากว่าต้องการผล
ของความรู้สึกในทางบวก
สีเทา
สำหรับสีเทาซึ่งมีระดับสีอ่อนแก่แตกต่างกันมากหลายระดับ
อาจจะเป็นที่คุ้นเคยกันดีจากการดูภาพขาวดำ
การอ่านหนังสือพิมพ์และหนังสือทั่วไป
สีดำ
สีดำ ซึ่งเรียกว่า อรงค์ คือ ถือว่าไม่ใช่สีดำ เป็นสัญลักษณ์ของความมืด
ความว่าง ในการตีพิมพ์สีดำมีค่าในทางบวกมาก
เนื่องจากเมื่อเราไม่ใช้สีอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นภาพหรืออักษรวางลงไป
ก็จะทำให้สีเหล่านั้นเจิดจ้าสะดุดตาขึ้น
สีขาวสีขาวก็เช่นกัน ไม่เป็นทั้งสีอุ่นและเย็น ยกเว้นเมื่ออยู่กับสีเหลือง
จะทำให้สีเหลืองจ้าขึ้น เราสามารถวางภาพหรืออักษรสีต่างๆ
ลงบนพื้นขาวได้ผลดีเช่นเดียวกับสีดำ
สีใกล้เคียง (Relate Colors) สีที่อยู่ใกล้เคียงกัน ในวงจรสี เราสามารถ กาหนดสีใกล้เคียงได้โดย ยึดสีใดสีหนึ่งเป็นหลักก่อน แล้วนับไปทางซ้ายหรือขวาทางใดทางหนึ่ง หรือทั้ง 2 ทาง นับร่วมกับสีหลักแล้วไม่เกิน 4 สี ถือว่าเป็นกลุ่มสีที่กลมกลืน และถ้าจะให้สีกลมกลืนกันที่สุดก็นับเพียง 3 สี เท่านั้น
การกลับค่าของสี (DISCORD)
การสร้างความแตกต่างหรือความขัดแย้งที่เหมาะสมได้จังหวะส่งเสริมให้มีสีสันน่าดูขึ้นทั้งนี้เพราะการใชสีกลมกลืนบางครั้งดูจืดชืดเกินไปการสร้างความขัดแย้งในบางจุดทาให้ภาพดูตื่นเต้นขึ้น
คู่สีตรงข้าม
โครงสีตรงข้ามคือการใช้ชุดสีหรือคู่สีที่ตัดกันรุนแรงเป็นสีที่อยู่ตรงข้ามกันในวงจรสีและเป็นสีที่อยู่ต่างวรรณะกันสีสองสีเมื่อนามาใช้คู่กันจะทาให้สีทั้งสองมีความสว่างและสดใสมากขึ้นการใช้สีแบบนี้ให้ความรู้สึกตื่นเต้นมีชีวิตชีวามีพลังการเคลื่อนไหวและเร้าความสนใจได้ดีอย่างไรก็ตามอาจทาให้ผู้ดูรู้สึกเบื่อได้ง่ายเช่นกันสีที่อยู่ตรงข้ามกันในวงจรสีมีทั้งหมด 6 คู่คือ1. สีเหลือง กับ สีม่วง
2. สีเขียว กับ สีแดง
3. สีส้ม กับ สีน้ำเงิน
4. สีเขียวเหลือง กับ สีม่วงแดง
5. สีเขียวน้าเงิน กับ สีส้มแดง
6. สีส้มเหลือง กับ สีม่วงน้ำเงิน
การใช้สีสมดุล (Symmetrical Coloring) เป็นการใช้สีโดยแบ่งภาพออกเป็นสองส่วนซ้ายขวาหรือส่วนบนล่างเมื่อระบายสีลงในด้านใดให้ระบายสี
นั้นในด้านตรงกันข้ามด้วยจะได้ภาพที่มีสีสดในประสานส่งเสริมกันอย่างน่าดูยิ่งโดยมีความสมดุลของทั้งสองด้านเป็นตัวควบคุม
การใช้สีจตุสัมพันธ์ (Quadratic Color) สีจตุสัมพันธ์ เป็นสีที่มีค่าของสีที่ตัดกัน โดยน้าหนัก ไม่ใช้ตัดกัน โดยแท้จริง (True Contrast) หรือเป็นสีคู่ (Complementary Colors) แต่น้าหนักที่ตัดกันนั้น น้อยกว่า สีไตรสัมพันธ์ และสีชุดจตุสัมพันธ์นี้ จะเป็นสีที่อยู่ในวรรณะใดวรรณะหนึ่ง (Warm Tone or Cool Tone) อยู่2สีและอีกวรรณหนึ่ง 2 สีประสิทธิภาพของการใช้สีไตรสัมพันธ์นี้ นอกจากค่าน้าหนัก และความจัดของสีใไม่รุนแรงมากนักแล้ว ยังมีความหลากหลายของสี มากขึ้นซึ่งการนาไปใช้ต้องพิจารณาร่วมกับ ความเหมาะสมของแต่ละ ชิ้นงาน และแต่ละจุดประสงค์ด้วย
การออกแบบและการนำเสนออย่างสร้างสรรค์ด้วยคอมพิวเตอร์
การออกแบบสื่อด้วยดิจิทัลนำเสนอผลงานด้วย Power point
การนำเสนอโดย Power point
- ต้องมีทักษะการใช้คอมพิวเตอร์
- เสียเวลาในการเรียนวิธีใช้โปรแกรม
- ยุ่งยากต่อการออกแบบสไลด์
- ต้องการเครื่องฉายสไลด์
ทำไมต้อง Power point ?
- แก้ไขข้อความได้ง่าย
- ภาพที่ออกมาคมชัด
- ง่ายต่อการควบคุมการเปลี่ยนสไลด์
- เพิ่มภาพประกอบได้
- ใส่ภาพเคลื่อนไหวประกอบเสียงได้
- พิมพ์ออกเพื่อเตรียมตัวนำเสนอ
ส่วนประกอบในสไลด์
- แผ่นสไลด์
- ตัวอักษร
- Flow Chart
- ตาราง
- ภาพประกอบ
- ภาพเคลื่อนไหว
- กราฟ
- เสียง
การวางรูปแบบของสไลด์
- ใช้รูปแบบสไลด์ 35 mm.
- วางแนวนอน
- ใช้เทมเพลตที่มีในโปรแกรม
- เว้นขอบทั้งสี่ด้านให้ว่าง 0.5 นิ้ว
- จัดเนื้อหาให้อยู่กลางสไลด์
การใช้ตัวอักษรประกอบ
- ใช้ข้อความแทนประโยค
- มีข้อมูลควรจัดให้เป็นหัวข้อ
- ใช้ Key word เพื่อเพิ่มจุดสนใจ
การใช้ภาพประกอบ
- ภาพที่ใช้ต้องช่วยเสริมข้อความที่เสนอ
- ไม่ควรมีตัวอักษรในภาพถ้าไม่จำเป็น
- ตัวอักษรที่ใช้ควรให้เงาเพื่อเพิ่มความชัด
- ลดสิ่งที่ทำให้เกิดความยุ่งเหยิง
- ภาพที่ใช้อาจทำให้ขนาดของแฟ้มข้อมูลใหญ่เกินไป
แนวทางการออกแบบ Power point
- สื่อถึงเนื้อหาที่นำเสนอ
- หนึ่งสไลด์ต่อหนึ่งความคิด
- ชัดเจนและสะดวกต่อการอ่าน
- ความสมดุลและคงเส้นคงวา
- ใช้ภาพประกอบเมื่อจำเป็น
ส่วนประกอบการออกแบบ Power point
- Introduction ได้แก่ ชื่อเรื่อง ชื่อผู้นำเสนอ หน่วยงาน
- ลำดับหัวข้อในการนำเสนอ
- เนื้อหาตามลำดับหัวข้อ
- บทสรุปการนำเสนอ
- อ้างอิงหรือขอบคุณ
การเตรียมตัวนำเสนอ
- ศึกษาข้อมูลทั่วไปสำหรับการนำเสนอ
- ศึกษาวิธีการควบคุม Slide Show
- นำเสนอผลงาน
การนำเสนอโดย Power point
- ต้องมีทักษะการใช้คอมพิวเตอร์
- เสียเวลาในการเรียนวิธีใช้โปรแกรม
- ยุ่งยากต่อการออกแบบสไลด์
- ต้องการเครื่องฉายสไลด์
ทำไมต้อง Power point ?
- แก้ไขข้อความได้ง่าย
- ภาพที่ออกมาคมชัด
- ง่ายต่อการควบคุมการเปลี่ยนสไลด์
- เพิ่มภาพประกอบได้
- ใส่ภาพเคลื่อนไหวประกอบเสียงได้
- พิมพ์ออกเพื่อเตรียมตัวนำเสนอ
ส่วนประกอบในสไลด์
- แผ่นสไลด์
- ตัวอักษร
- Flow Chart
- ตาราง
- ภาพประกอบ
- ภาพเคลื่อนไหว
- กราฟ
- เสียง
การวางรูปแบบของสไลด์
- ใช้รูปแบบสไลด์ 35 mm.
- วางแนวนอน
- ใช้เทมเพลตที่มีในโปรแกรม
- เว้นขอบทั้งสี่ด้านให้ว่าง 0.5 นิ้ว
- จัดเนื้อหาให้อยู่กลางสไลด์
การใช้ตัวอักษรประกอบ
- ใช้ข้อความแทนประโยค
- มีข้อมูลควรจัดให้เป็นหัวข้อ
- ใช้ Key word เพื่อเพิ่มจุดสนใจ
การใช้ภาพประกอบ
- ภาพที่ใช้ต้องช่วยเสริมข้อความที่เสนอ
- ไม่ควรมีตัวอักษรในภาพถ้าไม่จำเป็น
- ตัวอักษรที่ใช้ควรให้เงาเพื่อเพิ่มความชัด
- ลดสิ่งที่ทำให้เกิดความยุ่งเหยิง
- ภาพที่ใช้อาจทำให้ขนาดของแฟ้มข้อมูลใหญ่เกินไป
แนวทางการออกแบบ Power point
- สื่อถึงเนื้อหาที่นำเสนอ
- หนึ่งสไลด์ต่อหนึ่งความคิด
- ชัดเจนและสะดวกต่อการอ่าน
- ความสมดุลและคงเส้นคงวา
- ใช้ภาพประกอบเมื่อจำเป็น
ส่วนประกอบการออกแบบ Power point
- Introduction ได้แก่ ชื่อเรื่อง ชื่อผู้นำเสนอ หน่วยงาน
- ลำดับหัวข้อในการนำเสนอ
- เนื้อหาตามลำดับหัวข้อ
- บทสรุปการนำเสนอ
- อ้างอิงหรือขอบคุณ
การเตรียมตัวนำเสนอ
- ศึกษาข้อมูลทั่วไปสำหรับการนำเสนอ
- ศึกษาวิธีการควบคุม Slide Show
- นำเสนอผลงาน
วันอังคารที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554
การสื่อสารและทฤษฎีการสื่อสาร
ความหมายของการสื่อสาร :
-
เป็นกระบวนการถ่ายทอด/แลกเปลี่ยนเรื่องราว ความต้องการ
ความคิดเห็น ความรู้สึก ระหว่างผู้ส่ง-ผู้รับ ผ่านสื่อ ช่องทางระบบเพื่อการติดต่อ
รับส่งข้อมูล ซึ่งกันและกัน
ความคิดเห็น ความรู้สึก ระหว่างผู้ส่ง-ผู้รับ ผ่านสื่อ ช่องทางระบบเพื่อการติดต่อ
รับส่งข้อมูล ซึ่งกันและกัน
ลักษณะของการสื่อสาร:
1. วิธีการสื่อสาร
1.1 การสื่อสารด้วยวาจา หรือ วจนภาษา (Oral Communication)
1.2 การสื่อสารที่มิใช่วาจา หรือ อวจนภาษา (Nonverbal Communication)
1.3 การสื่อสารด้วยการใช้จักษุสัมผัส หรือ การเห็น (Visual Communication)
2. รูปแบบของการสื่อสาร
2.1 การสื่อสารทางเดียว (One-way Communication)
2.2 การสื่อสารสองทาง (Two-way Communication)
3. ประเภทของการสื่อสาร
3.1 การสื่อสารในตนเอง (Self- Communication)
3.1 การสื่อสารในตนเอง (Self- Communication)
3.2 การสื่อสารระหว่างบุคคล (Intrapersonal Communication)
3.3 การสื่อสารแบบกลุ่มย่อย (Small group Communication)
3.3 การสื่อสารแบบกลุ่มย่อย (Small group Communication)
3.4 การสื่อสารแบบกลุ่มใหญ่ (Large group Communication)
3.5 การสื่อสารมวลชน (Mass Communication)
3.5 การสื่อสารมวลชน (Mass Communication)
องค์ประกอบของการสื่อสาร
1. ผู้ส่งสาร (Source)
2. สาร (Message)
3. สื่อหรือช่องทาง (Media or Channel)
4. ผู้รับ (Receiver)
5. ผล (Effect)
6. ผลย้อนกลับ (Feedback)
อุปสรรคของการสื่อสาร
1. คำพูด (Verbalisn)
2. ฝันกลางวัน (Day Dreaming)
3. ข้ออ้างถึงที่ขัดแย้ง (Referent Confusion)
4. การรับรู้ที่จำกัด (Limited Perception)
5. สภาพแวดล้อมทางกายภาพไม่เอื้ออำนวย (Physical Discomfort)
6. การไม่ยอมรับ (Inperception)
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)